บทความวิจัย



การคัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้นนในผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงด้วยเครื่องมือ i-Cog mini โดย อสม.เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต  Screening for primary dementia in the elderly with hypertension using a device i-Cog mini by Village Health Volunteer specialist of mental health

นาย สันติภาพ เยี่ยมไธสง
    นำเสนอผลงานพัฒนาคุณภาพ HACC นครชัยบุรินทร์ 2566. เมืองยาง. นครราชสีมา. (2566)

บทคัดย่อ/Abstract


การศึกษานี้เป็นการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้นในผู้สูงอายุที่เป็น

โรคความดันโลหิตสูงในชุมชนในอำเภอเมืองยาง วัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความ

ดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคสมองเสื่อม 2) มีระบบการประเมิน คัดกรอง และ

การรับรู้สัญญาณเตือนภาวะสมองเสื่อมกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง และ 3) มีระบบการ

ส่งต่อผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่มีผลการทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นที่ผิดปกติ เข้ารับการ

เฝ้า ระวัง ดูแล รกัษา อย่างทันท่วงที พัฒนากิจกรรมด้วยกระบวนการ PDCA และ DALI โดยใช้กรอบ

แนวคิดทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM) ของ Rosenstock

Strecher และ Becker มาดำเนินกิจกรรม เร่มิ ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 ถึง เดือนกันยายน

2565 ผลการศึกษา พบว่า 1) ร้อยละ 86.11 ของผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง หลังจากการเข้า

ร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้น 2) กลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นโรค

ความดันโลหิตสูง ได้รับทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น ร้อยละ 95 และ 3) กลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นโรคความ

ดันโลหิตสูง ที่มีผลการทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นที่ผิดปกติได้รับการส่งต่อเข้ารับการเฝ้าระวัง ดูแล

รักษา อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100

คำสำคัญ : การคัดกรองภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้น , ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง

อ้างอิง


เกษรนิ อุบลวงศ์. (2560). ความสัมพันธระหว่างความเชื่อดานสุขภาพกับพฤติกรรมปhองกันโรค

สมองเสื่อมของผูู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี

กรุงเทพ, 33(2), 16 – 24.

จักรพันธ เพ็ชรภูมิ. (2562). พฤติกรรมสุขภาพ แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกตใช้. (พิมพ์ครั้งท่ี 3).

พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.ชมรมเครือขายนักสื่อสารเชิงลึกแหงประเทศไทย. (2564). ประเทศพรอมหรือยัง ผูปวยภาวะ

สมองเสื่อมเพิ่มจำนวนต่อเนื่อง ขาดความเขาใจ ขาดแพทย์ วิกฤติชาติ. สืบคนจาก

https://public.tableau.com/views/TDJ-health/Section-1?:showVizHome=no

ปติพร สิริทิพากร. (2564). กรณีศึกษาผูปวยภาวะสมองเสื่อม: แผนการพยาบาลอยางครอบคลุม.

วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ, 19(1), 81 – 94.

โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จย่า 100 ปี. (2564). ขอมูลพื้นฐานประชากรในโปรแกรม Hos XP.

วันที่สืบคน วันที่ 7 กันยายน 2564.

ศิริกุล การุณเจริญพานิชย. (2558). ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและการพยาบาล : บทบาทที่ทาทาย

ของพยาบาล. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 25(1), 1 – 12 .

สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2564). สถิติด้านผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก

https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=social

อาทิตยา สุวรรณ์. (2560). บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม.

วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(1), 6 – 15.

Rosenstock, I.M, Strecher, V.J. & Becker, M.H. (1988). Social learning theory and

the Health Belief Model. Health Education Quarterly, 15(2), 175-183.

Word Health Organization. (2022). Dementia. Retrieved from

https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/dementia

Word Health Organization. (2022). Mental health of older adults. Retrieved from

https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/mental-health-of-olderadults

ดาวน์โหลด