บทความวิจัย



พฤติกรรมการดูแลตนเอง และระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลสีดา จังหวัดนครราชสีมา  Self Care Behaviors and Blood sugar level of Diabetic Patients at Sida Hospital, Nakhon Ratchasima Province

ศิริอรทัย เชาว์ดำรงสกุล
    โรงพยาบาลสีดา. สีดา. นครราชสีมา. (2567)

บทคัดย่อ/Abstract


การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน พฤติกรรมการดูแลตนเอง การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด การเกิดโรคแทรกซ้อน การสนับสนุนทางสังคม และปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 336 คน โดย การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และแบบบันทึกการรักษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ Chi-square test

ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 51.2 มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานในระดับดี รองลงมา ร้อยละ 41.4 และ 7.4 มีความรู้ในระดับปานกลาง และต่ำ ตามลำดับ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 80.0 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวมในระดับ ปานกลาง ร้อยละ 34.8 ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 56.2 เกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 43.5 ได้รับการสนับสนุนทางสังคมในระดับ ปานกลาง รองลงมา ได้รับการสนับสนุนในระดับสูง และต่ำ ร้อยละ 36.0 และ 20.5 ตามลำดับ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การได้รับการสนับสนุนทางสังคม (p-value = 0.001) ส่วนเพศ อายุ รายได้ ระยะเวลาการป่วยเป็นโรคเบาหวาน และความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน (p-value > 0.05) จากผลการศึกษา ควรส่งเสริมให้มีการสนับสนุนทางสังคม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้เหมาะสมแก่ผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มมากขึ้น


คำสำคัญ : โรคเบาหวาน; พฤติกรรมการดูแลตนเอง; การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

This cross-sectional analytic research aimed to study knowledge about diabetes, the self–care behaviors, the blood sugar control, the occurrence of complications, social support, factors associated with self-care behavior of diabetic patients at Sida Hospital, Nakhon Ratchasima Province. The subjects were 336 patients who had been type 2 diabetes, 18 years old or older. All of them, were selected by systematic random sampling. Data was collected by questionnaire and medical record form, analyzed by descriptive statistics and chi-square test.

The results study found that 51.2% had good knowledge about diabetes, followed by 41.4% and 7.4% had medium and low levels of knowledge, respectively. The majority, 80.0% of diabetic patients had overall self-care behavior at moderate level. 34.8% were controlled blood sugar levels. 56.2% were occurred complications. 43.5% received a moderate level of social support, followed by 36.0% and 20.5% received high and low levels of support, respectively. Factors associated with self-care behavior of diabetic patients by statistically significant were social support (p-value = 0.001). As for gender, age, income, duration of diabetic illness. and knowledge about diabetes no associated with self-care behavior of diabetic patients. (p-value > 0.05). According to the results, should be promote social support and modify the appropriate self-care behaviors for diabetic patients to get more.


keywords : Diabetes Mellitus; Self – Care Behavior; Control blood sugar

อ้างอิง


[1] World Health Organization. Diabetes around the world in 2021. [online]. (2021). [cited 2024 Feb 1]. Available from https://idf.org/about-diabetes/diabetes-facts-figures/

[2] อัมพา สุุทธิจำรููญ. มาตรฐานคลินิกเบาหวานของประเทศไทย. วารสารเบาหวาน 2565; 54(1): 19–22.

[3] วรรณี นิธิยานันท์. ไทยป่วยเบาหวานพุ่งสูงต่อเนื่องแตะ 4.8 ล้านคน ชี้ ‘เนือยนิ่ง-อ้วน-อายุมาก’ ต้นเหตุ. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.hfocus. Org/content/2019/11/18014

[4] อรนุช ประดับทอง สุขุมาล แสนพวง และธิดารัตน์ คณึงเพียร. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา 2563; 21(1): 55-67.

[5] ทวีศักดิ์ อินกอง และแววตา คำอุด. ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองและกระบวนการกลุ่มต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่าตามา. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2566; 4(1): 150-63.

[6] กัลยารัตน์ รอดแก้ว ยุวดี ลีลัคนาวีระ และวรรณรัตน์ ลาวัง. ผลของโปรแกรม การกำกับตนเองร่วมกับคู่หูดูแลกันต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวาน นํ้าหนักและระดับน้ำตาลในเลือดของกล่มเสี่ยงโรคเบาหวานที่มีน้ำหนักเกิน. วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2561; 11(2): 13-28.

[7] Rawdaree, P., Ngarmukos, C., Deerochanawong, C., Suwanwalaikorn, S., Chetthakul, T., Krittiyawong, S., & Mongkolsomlit, S. Thailand Diabetes Registry (TDR ) Project : Clinical Status and Long Term Vascular Complications in Diabetic Patients. Journal of the Medical Association of Thailand journal 2016; 89(1): 1–9.

[8] รื่นจิต เพชรชิต. พฤติกรรมการดูแลตนเองและความสามารถในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรงพยาบาลเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2558; 2(2): 15-28.

[9] วารี จตุรภัทรพงศ์, และพรรณทิพา ศักดิ์ทอง. ผลลัพธ์ของการจัดการด้านยาในผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ 2556; 8(4): 133–42.

[10] Bralic Lang, V., Bergman Marković, B., & Vrdoljak, D. The association of lifestyle and stress with poor glycemic control in patients with diabetes mellitus type 2: a Croatian nationwide primary care cross-sectional study. Croatian Medical Journal 2015; 56(4): 357-65.

[11] Aghili, R., Polonsky, W. H., Valojerdi, A. E., Malek, M., Keshtkar, A. A., Esteghamati, A., & Khamseh, M. E. Type 2 Diabetes: Model of Factors Associated with Glycemic Control. Canadian Journal of Diabetes 2016; 10(89): 1–7.

[12] ธาริน สุขอนันต์, ณัฐพร มีสุข และอาภิสรา วงศ์สละ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี 2558; 27(1): 93–102.

[13] ภฤดา แสงสินศร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตจังหวัดพิจิตร. วารสารวิจัยและวิชาการสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร 2564; 2(2): 43-54.

[14] จิรพรรณ ผิวนวล และประทุม เนตรินทร์. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางแก้ว ในตำบลบางแก้ว อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 2561; 1(2): 46-61.

[15] คะนึงนิด พาที. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลหนองพอก อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารโรงพยาบาลนครพนม 2558; 3(1): 17-25.

[16] วรรณรา ชื่นวัฒนา และณิชานาฏ สอนภักดี. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี 2557; 6(3): 163-70.

[17] Bralic Lang, V., Bergman Markovic, B., & Vrdoljak, D. The association of lifestyle and stress with poor glycemic control in patients with diabetes mellitus type 2: a Croatian nationwide primary care cross-sectional study. Croatian Medical Journal 2015; 56(4): 357-65.

[18] American Diabetes Association. Standards of medical care in diabetes 2017 abridged for primary care providers. Clinical Diabetes 2017; 35(1): 5-26.

[19] ระวีวรรณ เลิศวัฒนารักษ์. โรคเบาหวานในผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงวันที่ 15 กันยายน 2566] เข้าถึงได้จาก https://www.dailynews.co.th/article/663767

[20] ตนุพล วิรุฬหการุญ. BDMS Wellness Clinic : ศูนย์สุขภาพครบวงจรแห่งแรกในเอเชีย. [ออนไลน์]. (2561). [เข้าถึงวันที่ 15 กันยายน 2566] เข้าถึงได้จาก https: //www.kasikornbank.com/th/personal/thewisdom/articles/lifestyle/Pages/BDMS-0418.aspx

[21] ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ และกิตติพัฒน์ โสภิตธรรมคุณ. อันตรายจากโรคเบาหวาน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2559; 2(2): 1-8.

[22] โรงพยาบาลสีดา. สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรงพยาบาลสีดา. นครราชสีมา: โรงพยาบาลสีดา; 2566.

[23] American Diabetes Association. Diagnosis and classification of diabetes mellitus. Diabetes Care 2014; 37(1): S81-90.

[24] กานต์ชนก สุทธิผล. ปัจจัยที่มีผลต่อการคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลราชบุรี. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร 2565; 5(2): 1-12.

[25] Salahshouri, A., Zamani Alavijeh, F., Mahaki, B., & Mostafavi, F. Effectiveness of educational intervention based on psychological factors on achieving health outcomes in patients with type 2 diabetes. Diabetol Metab Syndr 2018; 10: 67. doi:10.1186/s13098-018-0368-8

[26] Green, L. W. & Kreuter, M. W. Health Program Planning: An Educational and Ecological Approach (4th ed). McGraw-Hill: New York; 2015.

[27] Davies, M. J., D’Alessio, D. A., Fradkin, J., Kernan, W. N., Mathieu, C., Mingrone, G., Buse, J. B. Management of Hyperglycemia in Type 2 Diabetes, 2018. A Consensus Report by the American Diabetes Association (ADA) and the European Association for the Study of Diabetes (EASD). Diabetes Care 2018; 41(12): 2669.

[28] Yamane, T. Statistics : An Introductory Analysis. London : John Weather Hill,Inc; 1967.

[29] พัชรี สุวรรณ์. พฤติกรรมการดูแลตนเอง และความสามารถในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรงพยาบาลสมุทรสาคร. รายงานวิจัย; 2564.

[30] Komin, S. Nutrition therapy for diabetic patients. In Wichayanarat, A (editor) diabetes textbook. Bangkok : Ruean Kaew Printing; 2013. (in Thai)

[31] Hirunkhro, B., Dussaruk, D., Poko, S., Siriniyomchai, C., & Kitiyanu,C. Foot Care: The Problems That Should Not Be Overlooked among Diabetic Elders in Community, EAU Heritage Journal Science and Technology 2021; 15(1): 46-61.

[32] พีระ บูรณกิจเจริญ. ความดันโลหิตสูง. [ออนไลน์]. (2559). [เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2566] เข้าถึงได้จาก http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=47

[33] สุภัทรา ปวรางกูร. โรคแทรกซ้อนเรื้อรังจากเบาหวานจะตามมา หากคุมระดับน้ำตาลไม่ดี. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2566] เข้าถึงได้จาก https ://www.nakornthon. com/ article/ detail/

[34] มาโนชญ์ แสงไสยาศน์. พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยสูงอายุโรคเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต 2565; 1(3): 59-70.

[35] ธีรเดช ชนะกุล. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสามารถในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลเขาพนม จังหวัดกระบี่. วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม 2565; 2(3): 1-17.

[36] ลักขณา ผ่องพุทธ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ โรงพยาบาลนภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม. รายงานวิจัย; 2567.



ดาวน์โหลด