บทความวิจัย



การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด กรณีศึกษาเปรียบเทียบ  ไม่มี

นางพรทิพย์ จี่พิมาย
    นำเสนองาน HACC forum. โนนสูง. นครราชสีมา. (2567)

บทคัดย่อ/Abstract


บทคัดย่อ

ความเป็นมาและความสำคัญ ภาวะตกเลือดหลังคลอดเป็นภาวะแทรกซ้อนของการคลอดและเป็นสาเหตุสำคัญของการตายของมารดา ดังนั้นการให้การพยาบาลมารดาในระยะรอคลอด ระยะคลอด ระยะหลังคลอดและการเตรียมจำหน่ายที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพจะช่วยให้มารดาและทารกปลอดภัย

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด

วิธีดำเนินการ : เป็นการศึกษามารดาคลอดที่รับบริการในโรงพยาบาลโนนสูง จังหวัดนครราชสีมาในช่วงเดือนสิงหาคม พ ศ จำนวน ราย โดยการศึกษาข้อมูลจากเวชระเบียน การสัมภาษณ์ การสังเกตผู้คลอดและญาติ วิเคราะห์การพยาบาลด้วยกระบวนการพยาบาล โดยใช้แบบแผนสุขภาพ แบบแผนของกอร์ดอน การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล การให้การพยาบาลและการประเมินผลลัพธ์

ผลการศึกษา : ผู้คลอดทั้ง 2 ราย มีภาวะตกเลือดหลังคลอดเหมือนกัน แตกต่างกันที่สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะตกเลือด กรณีศึกษารายที่ 1 มีการคลอดติดไหล่นานของทารก มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ทำให้มีการสูญเสียเลือดมาก และทารกแรกเกิดมีภาวะ กรณีศึกษารายที่ ภายหลังคลอดทารก รกเกาะติดแน่น ค้าง นานกว่า ชั่วโมง หลังทำหัตถการทำคลอดรกมีการสูญเสียเลือด การพยาบาลอย่างเร่งด่วน รวดเร็ว สามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตปลอดภัยทั้งมารดาและทารก

ข้อเสนอแนะ : ควรมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการพยาบาลและทีมสหวิชาชีพ ด้านทักษะการประเมินและการดูแลรักษาพยาบาลมารดาคลอด ควบคู่กับการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลภายใต้หลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราเสียชีวิตของมารดาคลอดในโรงพยาบาลโนนสูง และในอนาคตควรมีการศึกษาวิจัยการดูแลมารดาตกเลือดหลังคลอดเพิ่มเติม อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

คำสำคัญ : ภาวะตกเลือดหลังคลอด การพยาบาลภาวะตกเลือดหลังคลอด

คำสำคัญ : ภาวะตกเลือดหลังคลอด การพยาบาลภาวะตกเลือดหลังคลอด

PPH

keywords :

อ้างอิง


กระทรวงสาธารณสุข (2562). กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

กฤษณา สารบรรณ และคณะ (2565). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดในระยะ

ชั่วโมงหลังคลอด หอผู้ป่วยสูติกรรม โรงพยาบาลหนองคาย วารสารโรงพยาบาลหนองคาย

ตรีภพ เลิศบรรณงษ์ (2560). ตำราสูติศาสตร์ obstertrics. ภาควิชาการพยาบาล

สูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา กรุงเทพ๚ คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ทิพวรรณ์ เอี่ยมเจริญ. ( เมษายน-มิถุนายน). การตกเลือดหลังคลอด : บทบาทสำคัญของพยาบาลในการ

ป้องกัน. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6( หน้า 146-157.

นิตยา สินสุกใส. (2560). ภาวะตกเลือดหลังคลอด : บทบาทพยาบาล. ใน เพิ่มศักดิ์ สุเมฆศรี (บรรณาธิการ

ก้าวหน้าไปด้วยกันเพื่อการบริบาลปริกำเนิด 4.0. (หน้า 91-96). กรุงเทพฯ : ยูเนี่ยนครีเอชั่น.

มังกร ประพันธ์วัฒนะ เภสัชวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ พิษณุโลก ตระกูลไทย

วิทยาลัยกองทัพบก. คู่มือการวางแผนการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่

กรุงเทพฯ อรุณ

สุฑารัตน์ ชูรส มกราคม-มีนาคม การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด : บทบาทของพยาบาล

วารสารวิชาการแพทย์เขต 33( หน้า 181-

สุภานัน ชัยราช. ( :

Hemorrhage. ในรัตยา โพธิผลิ การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด

และมีภาวะช็อก. พฤศจิกายน 2563.

สมพร เฮงประเสริฐ. ( กันยายน-ธันวาคม). ภาวะตกเลือดหลังคลอด. วารสารวิทยาลัยพยาบาล

พระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี หน้า 75-

Organization. Numbers.

[Internet]. [ 30].

http://www.whqlibdoc.who.int/publications/2004/9241591838.pdf.

ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ การวางแผนการพยาบาล ( กรุงเทพ๚ คณะ

พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นเมื่อ สิงหาคม จาก http://www.issuu.

sriprasong/docs/

ดาวน์โหลด