บทความวิจัย



ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยตนเอง ของประชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา  Factors Affecting Access to COVID-19 Vaccination Services among The Population in Chalerm Phrakiat District, Nakhon Ratchasima Province

พีรภัทร ไตรคุ้มดัน
    วารสารสำ นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2566. เฉลิมพระเกียรติ. นครราชสีมา. (2566)

บทคัดย่อ/Abstract


การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติ และปัจจัยที่มีผลต่อการมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยตนเอง ของประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 392 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สร้างขึ้นจาก Google Form วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ใช้สถิติ Multiple Logistic Regression นำเสนอค่า COR, AOR, P-value จากผลการศึกษาการมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยตนเอง พบว่า ความชุกของผู้ตัดสินใจมารับบริการด้วยตนเองตั้งแต่แรก คิดเป็นร้อยละ 62.76 (95% CI =57.83-67.42) เมื่อวิเคราะห์โดยการควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอื่นพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ สถานภาพสมรส (ORAdj= 1.89, 95% CI = 1.17 – 3.04, p – value < 0.001) ระดับความรู้มาก (ORAdj= 1.62, 95% CI = 1.05 – 2.50, p – value = 0.028) ความคิดเห็นต่อการให้บริการระดับดี (ORAdj= 2.53, 95% CI = 1.54 – 4.16, p – value = < 0.001) ดังนั้นการมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ทำให้เห็นถึงความตระหนักด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชน ในแง่ของผลกระทบตัวเอง ครอบครัว และชุมชน ซึ่งความรู้มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจ และสร้างทัศนคติที่ดี รวมถึงคุณภาพในการให้บริการ ดังนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่สามารถเข้าถึงข้อมูลระบบสุขภาพที่เหมาะสมและถูกต้องได้ จึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพที่มีต่อการตัดสินใจการรับบริการวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

คำสำคัญ : ความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติ การมารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยตัวเอง

This study is analytical research. The objectives were to study knowledge, opinions, attitudes and factors affecting access to COVID-19 vaccination services among the population in Chalerm Phrakiat District, Nakhon Ratchasima Province. There were 392 sample groups in this research study. A Google Forms questionnaire was used to collect data. Data were analyzed using descriptive statistics, namely, and inferential statistics using multiple logistic regression, including COR, AOR, and P-values. The results showed the prevalence of the population who decided to receive services by themselves at the beginning, representing 62.76% (95% CI = 57.83–67.42%), % (95% CI: 11.22–11.72). When analyzed by controlling the influence of other variables, it was found that factors affecting access to COVID-19 vaccination services among the population with statistical significance at the 0.05 level were marital status (ORAdj = 1.89, 95% CI = 1.17–3.04, p-value<0.001), high level of knowledge. (ORAdj = 1.62, 95% CI = 1.05–2.50, p-value = 0.028), Comments of service receiver on the Medical service at a Excellent level (ORAdj = 2.53, 95% CI = 1.54-4.16, p-value = 0.001). The arrival of the COVID-19 vaccination service shows public health awareness in the community. In terms of impact on oneself, family and community, knowledge is essential to decision-making. and create a positive attitude including the quality of service, Therefore, promoting people in the area to have access to appropriate and accurate health system information. Therefore, it plays an important role in raising health literacy in the decision to access the coronavirus 2019 vaccine.

keywords : knowledge, opinions, attitudes, covid-19 vaccination services

อ้างอิง


1. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับประชาชน. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2563.

2. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานสถานการณ์โรคโควิด – 19. 2564 [เขาถึงเมื่อวันที่ 2564 มิถุนายน 26] เขาถึงไดจาก: https://ddc.moph.go.th.

3. กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาด ปี 2564 ของประเทศไทยฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2. สมุทรปราการ: ทีเอส อินเตอร์พริ้นท์ จำกัด; 2564.

4. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. คู่มือวัคซีนสู้โควิด ฉบับประชาชน(สสส). 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2564 มิถุนายน 13] เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th/Books.

5.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเฉลิมพระเกียรติ. รายงานการจองวัคซีนโควิด – 19 อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2564 กรกฎาคม 8] เข้าถึงได้จาก http://www.chalermhealth.com

6. Mahmud S, Mohsin M, Khan IA, Mian AU, Zaman MA. Knowledge, beliefs, attitudes and perceived risk about COVID-19 vaccine and determinants of COVID-19 vaccine acceptance in Bangladesh. PloS one 2021 Sep 9; 16(9):e0257096.

7. Acharya, S. R., Moon, D. H., & Shin, Y. C. (2021). Assessing attitude toward COVID-19 vaccination in South Korea. Frontiers in Psychology, 12, 694151.

8. Hsieh FY. Bloch DA, Larsen MD. A Simple method of sample size calculation for linear and logistic regression. Statist Med 1998; 17: 1623–34.

9. ป ณิ ตา ครอง ยุทธ, จินดา คำ แก้ว, ปฐวี สาระ ติ, & วิ ริน รัตน์ สุข รี. ปัจจัย ที่ มี ความ สัมพันธ์ กับ การ ตัดสินใจ ฉีด วัคซีน ป้องกัน โรค ไข้หวัดใหญ่ ใน ผู้ สูงอายุ ที่ ป่วย เป็น โรค เรื้อรัง อำเภอ วารินชำราบ จังหวัด อุบลราชธานี. Journal of Science & Technology MSU, 2018, 37(6), 815-822.

10. Likert L. & Rensis R. Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son; 1967.

11. Bloom BS. Human Characteristic and School Learning. New York: McGraw-Hill Book Company; 1976.

12. David W, Hosmer and Stanley Lemeshow. Applied logistic regression. United States of

America; 2000.

13. Lazarus JV, Ratzan SC, Palayew A, Gostin LO, Larson HJ, Rabin K, et al. . A global survey of potential acceptance of a COVID-19 vaccine. Nature medicine 2021; 27(2): 225- 8.

14. Mohamed NA, Solehan HM, Mohd Rani MD, Ithnin M, Che Isahak CI. Knowledge, acceptance and perception on COVID-19 vaccine among Malaysians: A web-based survey. Plos one 2021 Aug 13;16(8):e0256110.

15. พีรวัฒน์ ตระกูลทวีสุข. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ารับวัคซีนโควิด-19 และข้อกังวลในบุคลากรทางการแพทย์. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2565; 3(1) : 47-57.

16. ณัฎฐวรรณ คำแสน. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19ของประชาชนในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดพรรณบุรี, วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 2564; 4 (1): 33 – 48.

17. ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, จิราพร วรวงศ์, เพ็ญนภา ศรีหริ่ง, รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง, จุฬารัตน์ ห้าวหาญ, ดิษฐพล ใจ ซื่อ และคณะ. คู่มือการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคโควิด-19 ในชุมชน ของ อสม. คลังข้อมูลและความรู้ระบบสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2564.

18. Chinnabutr W, Phakdisorawit N. บทบาท ของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อ สม.) ในการ ป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามนโยบายรัฐบาลอำเภอเมือง สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี. JSBA 2021; 6(2):304-18.

19. Sarawasee R, Wanichritta T. การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การเงิน และ ดิจิทัลในชุมชนสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation 2020. 6(3): 203-20.

20. Wang J, Jing R, Lai X, Zhang H, Lyu Y, Knoll MD, Fang H. Acceptance of COVID-19 Vaccination during the COVID-19 Pandemic in China. Vaccines 2020; 8(3): 482.

21. Chaudhary FA, Ahmad B, Khalid MD, Fazal A, Javaid MM, Butt DQ. Factors influencing COVID-19 vaccine hesitancy and acceptance among the Pakistani population. Hum vaccines Immunother 2021; 17(10): 3365-70.

22. Piraux A, Cavillon M, Ramond-Roquin A, Faure S. Assessment of satisfaction with pharmacist-administered COVID-19 vaccinations in France: PharmaCoVax. Vaccine 2022, 10(3): 440.

23. Gyan Jyoti, Arun Kumar Yadav, Ritu Kumari, Ruma Coudhary Bhattacharjee .

Level of satification with COVID-19 vaccine after getting jabs among the generalpopulation in Gurgaon, Haryana. Int J Adv Res 2021; 9(10):750-6.

24. Songkram, Phairat. ความต้องการวัคซีนโควิด-19 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมของบุคลากรสาธารณสุขในการบริการวัคซีนโควิด-19 จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2564; 30(2): 199 – 207.

25. Elhadi M, Alsoufi A, Alhadi A, Hmeida A, Alshareea E, Dokali M, et al. Knowledge, attitude, and acceptance of healthcare workers and the public regarding the COVID-19 vaccine: a cross-sectional study. BMC public health 2021; 21(1): 1-21.

26. El-Elimat T, AbuAlSamen MM, Almomani BA, Al-Sawalha NA, Alali FQ. Acceptance and attitudes toward COVID-19 vaccines: a cross-sectional study from Jordan. Plos one 2021; 16(4), e0250555.

ดาวน์โหลด